บทความ

บทที่ 2 บทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ

บทบาทของนักวิเพราะห์ ความต้องการนักวิเคราะห์ระบบในโลกธุรกิจ   -  องค์กรต่างๆ ใช้ข้อมูลสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการดำเนินการทางธุรกิจ  - พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการดำเนินการขององค์กร  - พัฒนาระบบเพื่อการแก้ไขปัญหาการดำเนินการในปัจจุบัน  - พัฒนาระบบเพื่อรองรับเทคโนโลยีใหม่ๆ  - พัฒนาระบบเพื่อรองรับการขยายตัวขององค์กร ความหมายที่แท้จริงของนักวิเคราะห์   - ผู้กำหนดสาเหตุของปัญหาขององค์กรที่แท้จริง  - ผู้แก้ไขปัญหาต่างๆ  - ผู้ให้คำปรึกษาด้านเทคโนโลยีแก่องค์กรฃ  - ผู้แนะนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์กร บทบาทของนักวิเคราะห์   อดีต   - พัฒนาระบบต่อเมื่อมีปัญหา   - แก้ปัญหาเฉพาะหน้าขององค์กร   ปัจจุบัน   - กำหนดรูปแบบของปัญหาในระบบปัจจุบัน   - ให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนาระบบการดำเนินการเพื่อก้าวไปสู่ระบบใหม่   - ให้ความรู็แก่ผู็ทำงานในองค์กร เพื่อพัฒนาในการทำงาน คุณสมบัติของนักวิเคราะห์   - มีความเชี่ยวชาญในด้านเทคนิค   -  มีความเชี่ยวชาญในด้านธุรกิจ   -  มีความเชี่ยวชาญในด้านของบุคลากร   - มีจรรยาบรรณและคุณธรรม วงจรชีวิตของการพัฒนาระบบ

บทที่ 1

บทที่ 1 บทบาทของเทคโนโลยี สารสนเทศ คือ การดำเนินการทางธุรกิจเพื่อสร้างผลผลิตและบริหารที่มีประสิทธิภาพ    - เป็นเครื่องในการดำเนินการทางธุรกิจ    - เป็นดครื่องมือในการตัดสินใจ ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ   - การทำงานที่เกิดร่วมกันของการพัฒนาด้าน ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์  - ทรัพยากรที่สำคัญที่ต้องใช้เพื่อให้เกิดการทำงานที่มีประสิทธิภาพ ต้องปรับปรุงสม่ำเสมอ  - การใช้ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป  - กลุ่มผู้พัฒนาภายนอกองกรณ์  - ระบบสื่อกลุ่มของปัจจัยต่างๆที่มีความสัมพันธ์กัน องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ มี Peoole , processes , Data , Software , Hardware  - รูปแบบการประมวลผล เป็นการกำหนดการดำเนินงานหรืองานที่ต้องทำตามฟังก์ชันทางธุรกิจ  - ผู้ทำงาน ผู้ใช้ทั่วไปหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบข้อมูลสารสนเทศในด้านใดด้านหนึ่งมั้งในและนอกองค์กรณ์ รูปแบบธุรกิจระบบอินเตอร์เน็ต  Business Profile = วัตถุประสงค์ของการดำเนินงานทางธุรกิจต่างๆ เงื่อนไขต่างๆของการดำเนินงาน   Business Models = การใช้กราฟิกเพื่อแสดงให้เห็นขั้นตอนการดำเนินการทางธุรกิจ  รูปแบบธุรกิจบนระบบอินเตอร์เน

บทความเรื่อง : PAYDAY ระบบเด็ด ตัวช่วยฝ่ายบุคคลในยุค 4.0

รูปภาพ
PAYDAY ระบบเด็ด ตัวช่วยฝ่ายบุคคลในยุค 4.0 PAYDAY คือ  ระบบคำนวณเงินเดือนและบริหารพนักงาน PAYDAY สร้างขึ้นโดย  บริษัท เวิร์ควันเทค จำกัด PAYDAY ถูกผลิตออกมาเพื่อ อำนวยความสะดวกและจัดการกับระบบพนักงานที่ช่วยเหลือให้ฝ่ายบุคคลทำงานได้ง่ายขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการคิดเงินเดือน การลา การเบิกจ่าย รวมถึงการรับสมัคเข้างานต่างๆ พูดได้ง่ายๆมันก็คือ ฝ่ายบุคคลออนไลน์ ที่มีความจำดีกว่ามนุษย์ ดูแลระบบดีกว่ามนุษย์ ควบคุมได้กว้างกว่ามนุษย์ ซึ่งฝ่ายบุคคลมีหน้าที่แค่ ควบคุมระบบมันเท่านั้นเอง เมื่อโลกพัฒนาขึ้น การเปลี่ยนแปลงก็ถูกเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ทุกวันนี้  software เข้ามามีส่วนร่วมในทุกๆด้านของมุมโลก ไม่ว่าจะเป็นด้านความบัญเทิง ด้านการเรียน แม้กระทั้งด้านธุรกิจต่างๆ จึงแสดงให้เห็นว่า   software เริ่มถูกพัฒนามาเพื่อช่วยเหลืองานของมนุษย์ แต่ในอีกมุมมองนึง  software เหล่านี้จะมาแทนที่มนุษย์หรือไม่ในอนาคตเพราะ มันทั้งสะดวกกว่า รวดเร็วกว่า มีฐานข้อมูลที่ดีกว่า และ ไม่ต้องเสียค่าแรงงานให้กับ  software เหล่านี้ จากบทความข้างต้นนั้น  PAYDAY  ระบบคำนวณเงินเดือนและบริหารพนักงาน จะเข้ามาทำหน้าที

บทที่8

รูปภาพ
การขอใช้ดิสก์ในไซเลนเดอร์ที่ 50,80,10,60,15,70,90 หัวอ่านอยู่ไซเลนเดอร์ที่ 30 จงวาดรูปการจัดเวลาการใช้ดิสก์ด้วยวิธี First Come First Served : FCFS Scheduling (แบบมาก่อนได้ใช้งานก่อน) วิธีนี้เป็นวิธีที่เรียบง่ายที่สุด process ใดที่มาถึงก่อนและอยู่ในคิวก่อน จะมีสิทธิ์ได้ใช้งานก่อน ดังตัวอย่างมี process มาถึงในคิวตามลำดับและแต่ละ process มีตำแหน่งของ cylinder Shortest Seek Time First : SSTF Scheduling (เลือกตำแหน่งที่อยู่ใกล้ที่สุดก่อน)  วิธีนี้จะดูว่าในบรรดา process ที่รอใช้งาน disk อยู่นั้น process ที่มีตำแหน่งของข้อมูลที่ต้องการอ่านอยู่ที่ cylinder ที่อยู่ใกล้กับหัวอ่านมากที่สุด ก็จะเลือก process นั้นให้ได้รับบริการก่อน วิธีนี้จะทำให้หัวอ่านมีระยะทางในการเคลื่อนจากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งที่สั้นที่สุด SCAN Scheduling   (การอ่านแบบกราด) วิธีนี้หัวอ่านจะอ่านกราดงานที่อยู่ในรายทางไปในทิศทางเดียวกันจนสุดที่ปลายของ cylinder สุดท้าย จากนั้นก็จะเริ่มอ่านกราดงานที่อยู่ในรายทางกลับมาในอีกทิศทางหนึ่ง ดังนั้น process ที่มีตำแหน่งของข้อมูลที่ต้องการอ่านอยู่ในทิศทางของการกราดขอ

บทที่ 7

รูปภาพ
ไฟล์ข้อมูล คืออะไร               สิ่งที่บรรจุข้อมูลต่าง ๆ ไว้ในที่เดียวกัน ซึ่งอาจหมายถึงโปรแกรมหรือข้อมูลที่เราต้องการเก็บไว้ด้วยกัน เมื่อเราต้องการค้นหาไฟล์ เราอ้างอิงด้วยชื่อไฟล์โดยไม่จำเป็นต้องทราบว่าไฟล์นั้นถูกเก็บไว้ในส่วนใดในดิสก์ ไดเร็กทอรี (Directory) หมายถึงอะไร                 หมายถึง แหล่งที่ใช้เก็บข้อมูล ซึ่งในเครื่องคอมพิวเตอร์หากมีระบบการจัดการข้อมูลที่ดีจัดเก็บโฟลเดอร์ให้เป็นระเบียบ จะทำให้สามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว โดยในโฟลเดอร์สามารถที่จะสร้างโฟลเดอร์ย่อยๆ ได้ตามต้องการ เพื่อใช้ในการแบ่งเก็บไฟล์ข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ ไม่ปะปนกัน                 บอกคำสั่งที่ใช้ในการจัดการไฟล์ มา 5 คำสั่ง          DIR (DIRECTORY) ดูชื่อแฟ้มข้อมูล, เนื้อที่บนแผ่นดิสก์, ชื่อแผ่นดิสก์          TYPE แสดงเนื้อหาหรือข้อมูลในแฟ้มข้อมูลที่กำหนด          COPY ใช้คัดลอกแฟ้มข้อมูลหนึ่ง หรือหลายแฟ้มข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลต้นทาง ไปยังแฟ้มข้อมูลปลายทาง         REN (RENAME) เปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล (ข้อมูลข้างในแฟ้มข้อมูลยังเหมือนเดิม)          DEL (DELETE) ลบแฟ้มข้อมู

บทที่4

รูปภาพ
จงอธิบายข้อดีของรูปแบบการทำงานแบบ SJF เป็นวิธีการจัดลำดับด้วยการนำโปรเซสที่ใช้เวลาน้อยที่สุดมาทำงานก่อน ซึ่งจัดเป็นทางเลือกวิธีหนึ่งที่ต้องการแก้ไขข้อบกพร่อง จงอธิบายข้อดีข้อเสียของรูปแบบการทำงานแบบ RR โปรเซสต่างๆจะถูกดำเนินการไปพร้อมกัน ถ้าหากมีการกำหนดให้ระยะเวลาควอนตัมมีค่าน้อยๆโปรเซสต่างๆก็จะได้กลับมาอยู่ในสถานะรันได้เร็วขึ้น เหมือนกับว่าทุกโปรเซสทำงานไปพร้อมๆกัน การที่มีการแบ่งเวลาให้ทุกโปรเซสมีโอกาสเข้ามาครอบครองซีพียูนั้น เป็นจุดเริ่มต้นของระบบการทำงานแบบแบ่งเวลาใช้งาน ซึ่งหมายถึงการแบ่งเวลาของซีพียูให้กับทุกๆโปรเซสเพื่อโปรเซสสามารถใช้งานซีพียูได้อย่างทั่วถึงนั่นเอง จงอธิบายข้อเสียของรูปแบบการทำงานแบบลำดับความสำคัญ โปรเซสที่มีลำดับความสำคัญต่ำอาจจะไม่มีโอกาสได้ใช้ CPU ถ้ามีโปรเซสที่มีลำดับความสำคัญสูงอยู่เป็นจำนวนมาก หรือมีโปรเซสที่มีลำดับความสำคัญสูงเข้ามาใหม่ตลอดเวลา การจัดคิวรูปแบบใดมีการใช้เวลาควันตัม            วิธีวนรอบ (Round Robin Scheduling : RR) ใช้กับระบบงานคอมพิวเตอร์แบบแบ่งเวลา มีลักษณะการจัดคิวแบบ FCFS แต่มีสิทธิในการ ครอบครอง CPU ของแต่ละโปรเซส

บทที่3

รูปภาพ
บทที่3 โปรเซสคืออะไร สถานะของโปรเซสมีอะไรบ้าง จงอธิบาย               โปรเซส คือ โปรแกรมที่กำลังเอ็กซิคิวต์อยู่        สถานะของโปรเซส มี           1.New        คือโปรเซสที่เพิ่งสร้างขึ้น           2. Ready     คือสถานะที่โปรเซสพร้อมที่จะใช้งานซีพียูทันที่ที่ โอเอสมอบหมายให้             3. Running คือสถานะที่โปรเซสครอบครองซีพียู หรือซีพียูมีการ เอ็กซ์คิวต์คำสั่งของโปรเซสนั้น           4.Waiting  คือสถานะที่โปรเซสนั้นกำลังรอเหตุการณ์อะไรบาง อย่าง           5. Terminated คือสถานะของโปรเซสที่ประมวลผลเสร็จสิ้น เวลา Quantum Time คืออะไร                  Quantum Time คือ  เวลาที่ขอใช้งาน CPU ปัญหา DeadLock เกิดขึ้นได้อย่างไร        ปัญหา DeadLock เกิดขึ้น         ทรัพยากรเป็นแบบใช้ร่วมกันไม่ได้          -1โปรเซสเท่านั้นที่จะใช้ทรัพยากรได้ อีกโปรเซสต้องรอ  ไม่มีการแทรกกลางคัน         -ทรัพยากรจะถูกคืนเมื่อโปรเซสต้องการค้น  หากไ่ม่คืน OS ทำอะไรไม่ได้ สถานะ Block เกิดขึ้นได้อย่างไร        สถานะ Block เกิดขึ้นได้ จากโปรเซสต้องการใช้อุปกรณ์ อินพุต/เอาต์พ