บทที่ 2 บทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
บทบาทของนักวิเพราะห์
ความต้องการนักวิเคราะห์ระบบในโลกธุรกิจ
- องค์กรต่างๆ ใช้ข้อมูลสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการดำเนินการทางธุรกิจ
- พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการดำเนินการขององค์กร
- พัฒนาระบบเพื่อการแก้ไขปัญหาการดำเนินการในปัจจุบัน
- พัฒนาระบบเพื่อรองรับเทคโนโลยีใหม่ๆ
- พัฒนาระบบเพื่อรองรับการขยายตัวขององค์กร
ความหมายที่แท้จริงของนักวิเคราะห์
- ผู้กำหนดสาเหตุของปัญหาขององค์กรที่แท้จริง
- ผู้แก้ไขปัญหาต่างๆ
- ผู้ให้คำปรึกษาด้านเทคโนโลยีแก่องค์กรฃ
- ผู้แนะนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์กร
บทบาทของนักวิเคราะห์
อดีต
- พัฒนาระบบต่อเมื่อมีปัญหา
- แก้ปัญหาเฉพาะหน้าขององค์กร
ปัจจุบัน
- กำหนดรูปแบบของปัญหาในระบบปัจจุบัน
- ให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนาระบบการดำเนินการเพื่อก้าวไปสู่ระบบใหม่
- ให้ความรู็แก่ผู็ทำงานในองค์กร เพื่อพัฒนาในการทำงาน
คุณสมบัติของนักวิเคราะห์
- มีความเชี่ยวชาญในด้านเทคนิค
- มีความเชี่ยวชาญในด้านธุรกิจ
- มีความเชี่ยวชาญในด้านของบุคลากร
- มีจรรยาบรรณและคุณธรรม
วงจรชีวิตของการพัฒนาระบบ
- มีความต้องการหรือปัญหา
- การศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนา
- การวิเคราะห์กำหนดความต้องการ
- การออกแบบระบบใหม่
- การพัฒนาและติดตั้งระบบใหม่
- การดูแลรักษาระบบใหม่
การศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบ
- ศึกษาความเป็นไปได้ในด้านของวัฒนธรรมขององค์กร
- ศึกษาความเป็นไปได้ในด้านเศรษฐกิจการเงิน
- ศึกษาความเป็นไปได้ในด้านเทคโนโลยี
- ศึกษาความเป็นไปได้ในด้านระยะเวลา
- ศึกษาความเป็นไปได้ในด้านรีสอร์ส
การวิเคราะห์และกำหนดความต้องการ
- กำหนดปัญหาการดำเนินการในปัจจุบัน
- กำหนดความต้องการของผู้ใช้ระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
- สร้างโมเดลของรูปแบบการทำงานต่างๆตามความเหมาะสม
- กำหนดวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
การพัฒนาและติดตั้งระบบใหม่
- การจัดซื้อและติดตั้งอุปกรณ์
- การพัฒนาหรือจัดซื้อซอฟต์แวร์
- การทดสอบความถูกต้องในการทำงานของระบบที่ติดตั้ง
- การอบรมบุคลากร
การดูแลรักษาระบบใหม่
- การดูแลรักษาอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพที่สามารถรองรับการใช้งานได้
- การดูแลแก้ไขข้อบกพร่องในการทำงานของซอฟต์แวร์ให้มีความทันสมัย
- การพัฒนาโมดูลการทำงานเพิ่มเติมเพื่อตอบสนองความต้องการที่เปลี่ยนแปลง
การบริหารโครงการ
- เป็นวิธีที่จะช่วยให้การดำเนินการของโครงการนั้นเป็นไปด้วยความเรียบร้อย สมารถพัฒนาระบบได้สมบูรณ์ภายในเลที่กำหนด
- บุคลากรที่เกี่ยวข้อง
- หัวหน้าโครงการ
- ลูกค้าหรือผู้ว่าจ้าง
- ทีมพัฒนา
การจัดตั้งโครงการและการวางแผน
- การจัดตั้งโครงการเกิดจากหลายสาเหตุ
- แผนการดำเนินการบริหารโครงการ
- ขั้นตอนการดำเนินการ
- ปัญหาของระบบพิจารณาจัดพิมพ์หนังสือ
- ประสิทธิภาพของระบบ
การยืนยันซึ่งความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบใหม่
- ความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบใหม่
- ความเป็นไปได้ในด้านเศรษฐศาสตร์
- ความเป็นไปได้ด้านเทคโนโลยี
- ความเป็นไปได้ในระยะเวลาที่กำหนด
การกำหนดระยะเวลาและจัดทำตารางเวลา
- กำหนดขั้นตอนการทำงานอย่างละเอียด
- การกำหนดระยะเวลาของแต่ละขั้นตอนที่กำหนดไว้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความชำนาญของหัวหน้าโครงการ
- วิธีการกำหนดขั้นตอนการดำเนินงาน
การกำหนดตัวบุคคลและหน้าที่รับผิดชอบ
- หัวหน้าโครงการคือผู้กำหนดเลือกผู้ร่วมงาน
- ขนาดของทีมพัฒนาไม่ควรมีขนาดใหญ่นัก
- หน้าที่รับผิดชอบของแต่ละบุคคลต้องกำหนดอย่างชัดเจน
- วิธีการพิจารณากำหนดตัวบุคคล
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น